Wednesday 10th October 2018
❤ ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ให้เพื่อนๆที่ยังไม่ได้นำเสนอการทดลองวิทยาศาสตร์ต่อจากอาทิตย์ที่ผ่านมา
กิจกรรมที่ 1 ➞ ฟองสบู่
กิจกรรมที่ 2 ➞ ลูกโป่งพองโต
➤ วัสดุ อุปกรณ์
1. เบ็กกิ้งโซดา
2. ลูกโป่ง
3. น้ำส้มสายชู
➤ ขั้นตอนการทดลอง
1.ใส่เบกกิ้งโซดาลงในลูกโป่ง
2.นำลูกโป่งไปครอบบนปากขวดที่มีน้ำส้มสายชู
3. เทเบกกิ้งโซดาที่อยู่ในลูกโป่งลงไปในขวดที่มีน้ำส้มสายชู
4. เมื่อเทเบกกิ้งโซดาลงไปในน้ำส้มสายชูจะเกิดปฏิกิริยาทำให้ลูกโป่งพองโตขึ้น
กิจกรรมที่ 3 ➞ แยกเกลือกับพริกไทย
กิจกรรมที่ 5 ➞ ระฆังดำน้ำ
➤ วัสดุ อุปกรณ์
1. น้ำ
2. ขวดที่ตัดก้นขวดออก
3. แก้ว
4. เรือขนาดเล็กพอดีแก้ว
➤ ขั้นตอนการทดลอง
1. ปิดฝาขวดน้ำที่ตัดก้นแล้วให้สนิท
2. นำขวดน้ำที่ตัดก้นแล้วลงในน้ำ
3. ค่อยๆกดขวดลงในน้ำ
4. จากนั้นเปิดฝาน้ำออก
5. ปิดฝาน้ำเข้าไปแล้วยกขวดน้ำขึ้น
6. นำขวดน้ำลงแล้วเปิดฝาออกอากาศเข้ามาแทนที่ในขวด หลังจากที่เปิดฝาขวดออกอากาศได้ออกไปน้ำจึงเข้ามาแทนที่
❤ การประเมินผล
ประเมินตนเอง : ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอ
ประเมินเพื่อน : มีส่วนร่วมกับเพื่อนๆ
ประเมินอาจารย์ : คอยแนะนำเพิ่มเติมและบอกสิ่งที่เราควรปรับปรุง
วันนี้อาจารย์ให้เพื่อนๆที่ยังไม่ได้นำเสนอการทดลองวิทยาศาสตร์ต่อจากอาทิตย์ที่ผ่านมา
กิจกรรมที่ 1 ➞ ฟองสบู่
➤ วัสดุ อุปกรณ์
1. น้ำยาล้างจาน
2. กะละมัง
3. น้ำ
4. ลวดกำมะหยี่
➤ ขั้นตอนการทดลอง
1. เติมน้ำลงในกะละมังแล้วผสมน้ำยาล้างจานผสม
2. ดัดลวดกำมะหยี่ให้เป็นรูปทรงต่างๆ เช่น สี่เหลี่ยม วงกลม สามเหลี่ยม
3. นำลวดกำมะหยี่จุ่มน้ำที่ผสมน้ำยาล้างจานในกะละมังแล้วเป่าเบาๆ
กิจกรรมที่ 2 ➞ ลูกโป่งพองโต
➤ วัสดุ อุปกรณ์
1. เบ็กกิ้งโซดา
2. ลูกโป่ง
3. น้ำส้มสายชู
➤ ขั้นตอนการทดลอง
1.ใส่เบกกิ้งโซดาลงในลูกโป่ง
2.นำลูกโป่งไปครอบบนปากขวดที่มีน้ำส้มสายชู
3. เทเบกกิ้งโซดาที่อยู่ในลูกโป่งลงไปในขวดที่มีน้ำส้มสายชู
4. เมื่อเทเบกกิ้งโซดาลงไปในน้ำส้มสายชูจะเกิดปฏิกิริยาทำให้ลูกโป่งพองโตขึ้น
กิจกรรมที่ 3 ➞ แยกเกลือกับพริกไทย
➤ วัสดุ อุปกรณ์
1. พริกไทย
2. เกลือ
3. ช้อนพลาสติก
4. ลูกโป่ง
5. เสื้อที่เป็นขน
➤ ขั้นตอนการทดลอง
1. นำพริกไทยกับเกลือผสมกันในจาน
2. นำช้อนพลาสติกมาถูกับเสื้อขน
3.นำช้อนไปวางเหนือพริกไทยกับเกลือทำให้เกิดไฟฟ้าสถิตพริกไทยจะลอยมาติดที่ช้อน
กิจกรรมที่ 4 ➞ ภาพซ้ำไปมา (กิจกรรมของผมเอง)
➤ วัสดุ อุปกรณ์
1. กระดาษสี
2. ดินสอ
3. กรรไกร
4. กระดาษแข็ง
➤ ขั้นตอนการทดลอง
1. วาดรูปนก ระบายสีแล้วตัดออกมา
2. นำรูปนกมาเรียงต่อกันไปเรื่อยๆ
3. สังเกตรายละเอียดของภาพที่ต่อ
4. เปลี่ยนรูปภาพอื่นมาลองต่ออีก
5. สังเกตรายละเอียดของภาพที่ต่อ
6. การวางเรียงซ้ำกันทำให้ไม่เกิดช่องว่างและไม่ซ้อนทับกันเหมือนกับการวางกระเบื้อง
6. การวางเรียงซ้ำกันทำให้ไม่เกิดช่องว่างและไม่ซ้อนทับกันเหมือนกับการวางกระเบื้อง
➤ วัสดุ อุปกรณ์
1. น้ำ
2. ขวดที่ตัดก้นขวดออก
3. แก้ว
4. เรือขนาดเล็กพอดีแก้ว
➤ ขั้นตอนการทดลอง
1. ปิดฝาขวดน้ำที่ตัดก้นแล้วให้สนิท
2. นำขวดน้ำที่ตัดก้นแล้วลงในน้ำ
3. ค่อยๆกดขวดลงในน้ำ
4. จากนั้นเปิดฝาน้ำออก
5. ปิดฝาน้ำเข้าไปแล้วยกขวดน้ำขึ้น
6. นำขวดน้ำลงแล้วเปิดฝาออกอากาศเข้ามาแทนที่ในขวด หลังจากที่เปิดฝาขวดออกอากาศได้ออกไปน้ำจึงเข้ามาแทนที่
❤ การประเมินผล
ประเมินตนเอง : ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอ
ประเมินเพื่อน : มีส่วนร่วมกับเพื่อนๆ
ประเมินอาจารย์ : คอยแนะนำเพิ่มเติมและบอกสิ่งที่เราควรปรับปรุง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น